ว่านเชือกเขามูกหลวง รวบรวมโดย ร.ต.สวิง กวีสุทธิ์ ร.น. พิมพ์เมื่อพ.ศ.๒๕๐๘ กล่าวไว้ว่า " ลักษณะลำต้นคล้ายหวายชุมพร ไส้ในกลวง ใบเหมือนใบตาลหม่อน ท้องใบขาวเป็นนวล ใต้ต้นหาต้นหญ้ามิได้ ต้นเหนียวเหมือนหวาย สรรพคุณ เอามากวนกับปรอทแข็ง ถ้าต้องการให้เป็นเงิน เอาว่านเขามูกหลวง ๒ สลึง รากพันงูแดง รากหัวท้าวยายหม่อม หญ้าปากควาย หัวดองดึง ชุมเห็ด ส้มกบยอดแดง สาบแร้งตัวผู้ เสมอภาคธรรมชาติ "
มีการใช้เครื่องหมายโบราณในเรื่องนี้ เป็นเครื่องหมายที่เรียกว่าตีนกา ดังข้อมูลเกี่ยวกับเครื่องหมายโบราณนี้
ในตำราไทยจะใช้เครื่องหมายตีนกาใน
การบอกน้ำหนักของตัวยาแต่ละชนิดดังนี้
ตัวอย่างเช่น ถ้าเขียนว่า
หมายถึงต้องการตัวยานั้นหนัก ๑ ตำลึง ๒ บาท๑สลึง
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น